ภาษาไทยพื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2556

สรุปสิ่งที่นักเรียนต้องมีในสมุดบันทึก

และส่งครูในวันสอบปลายภาค วันที่สอบวิชานี้

ภายใน 16.00 น.

1. ตัวชี้วัด (คัดลายมือ)

2. บทท่องจำ (คัดลายมือ)

3. แผนที่ความคิด การวิเคราะห์วรรณคดีเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

4. แบบฝึกหัดเรื่องอิเหนา อยู่ที่ใบงานใบความรู้ม.4เทอม2/ตอบคำถามอิเหนา

5. คำไทยที่มาจากภาษาอื่น ใน ใบความรู้ภาษาไทยพื้นฐาน/คำไทยที่มาจากภาษาอื่น 100 คำ

6. วิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี ดังนี้

1. หัวหน้ากลุ่มแบ่งเนื้อหาเพื่ออ่านทำนองเสนาะนำไปฝึกอ่าน และสรุปความเป็นร้อยแก้ว (เก็บคะแนนรายบุคคล)

2. ทั้งกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปเนื้อหา เรื่องราวเป็นร้อยแก้ว ในตอนที่ได้รับมอบหมาย(1หน้ากระดาษรายงาน)

3. เลือกตอนที่ชอบ 1 ตอน 5-6 บท อ่านทำนองเสนาะรายกลุ่ม(เก็บคะแนนรายกลุ่ม)

4. ช่วยกันวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีเรื่องอิเหนาใน 3 ด้านตอไปนี้ หัวข้อละ 5 บรรทัด - คุณค่าด้านวรรณศิลป์ - คุณค่าด้านเนื้อหา - คุณค่าด้านสังคม

7. งานมงคลสูตรคำฉันท์

7.1 อ่านวรรณกรรมเมื่องมงคลสูตรคำฉันท์ ตั้งแต่บทวิเคราะห์ เนื้อเรื่อง แล้วให้คัดลอกบทร้อยกรองที่มีมงคลประการที่ตนเอง

รับผิดชอบอยู่(ตามเลขที่ 1- 38 ตรงตามมงคลฯ และเลขที่ 39 เป็นต้นไปให้เริ่มนับใหม่) โดยคัดตั้งแต่คาถา

จนจบตอน แล้วสรุปเป็นความร้อยแก้วให้ถูกต้อง ไม่เกิน 4 บรรทัดลงในสมุด(คัดลายมือ)

7.2 แต่งอินทรวิเชียรฉันท์ 2 บท + ฉบัง 16 4 บท ให้มีเนื้อความและสัมผัสต่อเนื่องกัน

โดยกำหนดให้แต่งประเด็น ตีความมงคลสูตรที่ตนเองได้รับในข้อ 4.1 นำมาเขียน

ในเชิงยกตัวอย่างเป็นอุทากรณ์ เขียนบันทึกลงในสมุด (คัดลายมือ)

8. งานครอบครัวนักอ่าน

8.1 บันทึกการอ่าน งานที่ชอบ 1 ชิ้น

8.2 บันทึกการอ่าน งานที่ไม่ชอบ 1 ชิ้น

9. โครงงานมหาชาติ ส่งวันที่สอบวิชานี้ โดยส่งเป็นเอกสาร 1 เล่ม

10.ให้นักเรียนส่งสมุดบันทึก +โครงงาน(ข้อ 9 ) ในวันสอบปลายภาค 26 กุมภาพันธ์ 2557

1. แบบเขียนรายงาน คลิก

2.ใช้โลโก้ ญว.

3.ขนาดและรูปแบบอักษร ใช้ตามเอกสารนี้

แนวการอ่านหนังสือเพื่อสอบปลายภาค

1....ความหมายของคาถา ศัพท์บาลี คำอ่าน การขยายความ ตีความคาถา

2...ประวัติผู้แต่ง สำนวนโวหาร สาระสำคัญ ข้อคิดจากเรื่อง วรรณศิลป์ เรื่องมงคลสูตร

หัวใจชายหนุ่ม มหาชาติ

3...การอ่าน ตีความข้อความ สำนวน การแสดงความคิดเห็น เรื่องที่กำหนดให้

4...ลักษณะคำประพันธ์ โคลง กาพย์ฉบัง อินทรวิเชียรฉันท์

5...ภาษาถิ่น สำนวนโวหาร

6...ระดับภาษา วัจนภาษา อวัจนภาษา

7...คำไทย การสร้างคำ ตำไทยแท้ คำไทยที่มาจากภาาาอะไร

1.งานวิเคราะห์อิเหนาของทุกห้อง (ดำเนินการแล้ว)

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 7 กลุ่ม วิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี ดังนี้1. หัวหน้ากลุ่มแบ่งเนื้อหาเพื่ออ่านทำนองเสนาะนำไปฝึกอ่าน และสรุปความเป็นร้อยแก้ว (เก็บคะแนนรายบุคคล)

2. ทั้งกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปเนื้อหา เรื่องราวเป็นร้อยแก้ว ในตอนที่ได้รับมอบหมาย(1หน้ากระดาษรายงาน)

3. เลือกตอนที่ชอบ 1 ตอน 5-6 บท อ่านทำนองเสนาะรายกลุ่ม(เก็บคะแนนรายกลุ่ม)

4. ช่วยกันวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีเรื่องอิเหนาใน 3 ด้านตอไปนี้ หัวข้อละ 5 บรรทัด - คุณค่าด้านวรรณศิลป์ - คุณค่าด้านเนื้อหา - คุณค่าด้านสังคม

5. รวบรวม 1 - 4 เพื่อนำเสนอในคาบต่อไป

2.ตรวจสมุดโดยมีสาระสำคัญดังนี้

2.1 ตัวชี้วัด (คัดลายมือ)

2.2 บทท่องจำ (คัดลายมือ)

2.3 แผนที่ความคิด การวิเคราะห์วรรณคดีเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง (2 คะแนน ) ดูจากเว็บย่อยด้านล่าง

2.4 แบบฝึกหัดเรื่องอิเหนา อยู่ที่ใบงานใบความรู้ม.4เทอม2/ตอบคำถามอิเหนา (2 คะแนน )

2.6 อ่าน คำไทยที่มาจากภาษาอื่น ใน ใบความรู้ภาษาไทยพื้นฐาน/คำไทยที่มาจากภาษาอื่น **ด้านซ้ายมือ**

3.ส่งหัวข้อโครงงานเรื่อง มหาชาติ ภายในวันที่ 25 ธันวาคม 2556 ที่นี่

**ฟังบทสวดมงคลสูตรไทย **ฟังบทสวดมงคลสูตรอินเดีย

4.ภาระงาน 27 - 31 มกราคม 2557

4.1 อ่านวรรณกรรมเมื่องมงคลสูตรคำฉันท์ ตั้งแต่บทวิเคราะห์ เนื้อเรื่อง แล้วให้

คัดลอกบทร้อยกรองที่มีมงคลประการที่ตนเองรับผิดชอบอยู่(ตามเลขที่ 1- 38

ตรงตามมงคลฯ และเลขที่ 39 เป็นต้นไปให้เริ่มนับใหม่) โดยคัดตั้งแต่คาถา

จนจบตอน แล้วสรุปเป็นความร้อยแก้วให้ถูกต้อง ไม่เกิน 4 บรรทัดลงในสมุด(คัดลายมือ)

4.2 แต่งอินทรวิเชียรฉันท์ 2 บท + ฉบัง 16 4 บท ให้มีเนื้อความและสัมผัสต่อเนื่องกัน

โดยกำหนดให้แต่งประเด็น ตีความมงคลสูตรที่ตนเองได้รับในข้อ 4.1 นำมาเขียน

ในเชิงยกตัวอย่างเป็นอุทากรณ์ เขียนบันทึกลงในสมุด (คัดลายมือ) อ่านเอกสารเพิ่มเติมนี้ก่อน

5.ภาระงาน 3 - 7 กุมภาพันธ์ 2557

5.1 โหลดแบบฟอร์มครอบครัวนักอ่านพร้อมแบบประเมิน คนละ 2 ชุด

5.2 ชุดที่ 1 ให้เลือกอ่านหนังสือที่ชอบ 1 เล่ม บันทึกลงในเอกสารหมายเลข 1

ชุดที่ 2 ให้เลือกอ่านหนังสือที่ไม่ชอบ 1 เล่ม บันทึกลงในเอกสารหมายเลข 2 (คัดลายมือ)